โรคลมแดด โรคภัยอันตรายที่เกิดในช่วงหน้าร้อน โรคลมแดดหรือฮีทสโตรก
โรคลมแดด เริ่มเข้าสู้ช่วงฤดูร้อนโดยเฉพาะ เดือนเมษายนซึ่งในประเทศไทยนั้น ขึ้นชื่อว่าเป็นเดือนที่มีอากาศร้อนจัดที่สุด และด้วยสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงมากในปัจจุบัน ที่มีอุณหภูมิความร้อนเพิ่มขึ้นจนเป็นที่น่าตกใจ หลายจังหวัดในประเทศไทย มีอุณหภูมิทะลุสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส จนติด 1 ใน 15 ของเมืองที่ร้อนที่สุดในโลกเลยทีเดียว
ซึ่งอาจส่งผลให้พบ โรคลมแดด ได้บ่อยขึ้น โรคที่ใหม่ในยุคปัจจุบัน ทำให้อาจคร่าชีวิตของคุณ และคนใกล้เคียงได้ โรคลมแดดหรือฮีทสโตรก ซึ่งในปี 2561 เคยมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคฮีทสโตรกถึง 18 ราย และคาดการณ์ว่าจะมีผู้เสียชีวิตสูงขึ้นเรื่อย ๆ จากภาวะอากาศร้อน ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด โรคที่มีอันตรายถึงชีวิต โรคลมแดด หรือที่เรียกกันอีกชื่อว่า โรคฮีทสโตรก (Heat Stroke)
หน้าร้อนนี้จะทำยังไง ลองพักผ่อนสักหน่อย เพื่อเลี่ยงโรคภัยที่จะเข้ามาถามหา โรคลมแดดหรือฮีทสโตรก โรคลมร้อนเกิดจากสาเหตุอะไร ความร้อนภายในร่างกาย (Core Temperature) สูงกว่า 40 องศาเซลเซียส และไม่สามารถระบายความร้อนออกมาทันทีได้ ส่งผลให้เกิดโรคฮีทสโตรกได้ เกิดจากการที่อยู่ในสถานที่ที่อุณหภูมิร้อนมาก ๆ และร่างกายไม่สามารถปรับตัวลดอุณหภูมิให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ส่งผลเสียต่อระบบประสาท หัวใจ และไต เป็นเหตุให้เสียชีวิต
โรคลมแดดแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1) โรคลมแดดที่ไม่ได้เกิดจากการใช้กำลังกายหนัก (classical heatstroke or non-exertional heatstroke: NEHS) โรคลมแดดประเภทนี้เกิดจาก ความร้อนในสิ่งแวดล้อมที่มากเกินไป มักพบได้ บ่อยในผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรัง ซึ่งทำให้ไม่สามารถ ทนต่อสภาพอากาศร้อน และการขาดน้ำได้ คือ อุณหภูมิร่างกายสูง ไม่มีเหงื่อ มักเกิดในช่วงมีคลื่นความร้อนสูง ( Heat Wave) และอยู่ในบ้านที่ปิดมิดไม่มีที่ระบายอากาศ โรคลมแดดหรือฮีทสโตรก
โรคลมแดดประเภทนี้ ยังสามารถเกิดขึ้นกับคนในทุก ๆ วัย โดยเกิดจากยารักษาโรคบางชนิด หรือ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งส่งผลต่อความสามารถ ในการควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย โรคลมแดด สาเหตุ
2) โรคลมแดดที่เกิดจาก การใช้กำลังกายหนัก (exertional heatstroke: EHS) เช่น การออกกำลังกายที่หักโหมเกินไป มักจะเกิดในหน้าร้อนโดยเฉพาะกลุ่มผู้ใช้แรงงานและนักกรีฑา อาการคล้ายกับ Classical แต่ต่างตรงที่กลุ่มผู้ป่วยประเภทนี้ จะมีเหงื่อออกมาก ต่อมาเหงื่อจะหยุดออก นอกจากนี้ยังพบ การเกิดการสลายเซลล์กล้ามเนื้อลาย
โดยจะมีอาการแทรกซ้อน ได้แก่ ระดับโพแทสเซียมในเลือดสูง ระดับฟอสฟอรัสในเลือดสูง ระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ และพบไมโอโกลบินในปัสสาวะด้วย เกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน หมดสติ ชัด อาจมีเลือดออกทุกทวาร อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด
ใครที่มีความเสี่ยง โรคลมแดด ( Heatstroke )
ปัจจัยเสี่ยงหลายอย่าง โรคลมแดดหรือฮีทสโตรก ทำให้ผู้ป่วยบางรายมีโอกาสเกิดโรคลมแดดได้ง่ายขึ้น ได้แก่
- อายุที่น้อยหรือมากเกินไป
- มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคปอด ภาวะอ้วน หรือไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย
- การใช้ยาบางกลุ่มที่ทำให้สูญเสียสารน้ำหรือร่างกายไม่สามารถตอบสนองต่ออุณหภูมิกายที่สูงขึ้นได้อย่างเต็มที่ เช่น ยากลุ่มกระตุ้นการหดตัวของหลอดเลือด (Vasoconstrictors) ยาลดความดันหรือรักษาโรคหัวใจ (Beta – Blockers) ยาขับปัสสาวะ (Diuretics) และยาทางจิตเวชบางกลุ่ม (Antidepressants, Antipsychotics และ Psychostimulants) รวมทั้งสารเสพติดกลุ่ม Amphetamines และ Cocaine
- การที่ร่างกายต้องเผชิญกับอุณหภูมิที่สูงขึ้นอย่างเฉียบพลัน เช่น ในกรณีที่เดินทางท่องเที่ยวไปประเทศที่อากาศร้อนกว่า หรือในช่วงที่มี Heat Wave จนร่างการปรับตัวไม่ทัน ก็ทำให้เกิดฮีทสโตรกได้ง่ายขึ้น อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด
สัญญาณสำคัญของโรคลมแดด
สัญญาณสำคัญของโรคลมแดด Heat Stroke อาการ ก็คือ ไม่มีเหงื่อออก ตัวร้อนจัดขึ้นเรื่อย ๆ รู้สึกกระหายน้ำมาก วิงเวียน ปวดศีรษะ อ่อนแรง มึนงงและ คลื่นไส้ หายใจเร็ว อาเจียน ซึ่งต่างจากการเพลียจากแดดทั่ว ๆ ไป อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติ เช่น สับสน พูดไม่ชัดเจน กระสับกระส่าย หรือเห็นภาพหลอน หากรุนแรงมากอาจทำให้เกิดการชักเกร็ง และมีอาการโคม่าได้ในที่สุด หากเกิดอาการดังกล่าวจะต้องหยุดพักทันที สังเกตได้ว่าเมื่อสัมผัสผู้ที่มีอาการ จะพบตัวร้อนมาก และมีผิวสีแดงกว่าปกติ (flushing)
การรักษาเบื้องต้นของ โรคลมแดด ก่อนนำส่งโรงพยาบาล
การรักษาเบื้องต้นสามารถทำได้ วิธีรักษาโรคลมแดด ด้วยการลดอุณหภูมิร่างกาย อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด โดยพาผู้ป่วยเข้ามาในร่มหรือในที่ ที่มีเครื่องปรับอากาศและมีอุณหภูมิที่เย็น ถอดเสื้อผ้าและคลายเครื่องแต่งกายที่รัดแน่นเกินไป และอาจเช็ดตัวด้วยผ้าชุบน้ำเย็น ใช้ถุงน้ำแข็งวางบริเวณศีรษะ ลำคอ รักแร้ และขาหนีบ ใช้สเปรย์น้ำเย็นพ่น หรือนำผู้ป่วยลงแช่ในอ่างอาบน้ำเย็น
ในระหว่างที่รอรถพยาบาล โรคลมแดดหรือฮีทสโตรก ที่สำคัญคือห้ามดื่มเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เนื่องจากเครื่องดื่มจำพวกนี้ จะทำให้ความสามารถในการปรับอุณหภูมิของร่างกายสูญเสียไป และน้ำเย็นจะทำให้เกิด การหดเกร็งของกระเพาะอาหารได้ อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด
วิธีป้องกันตัวเองจากโรคลมแดด หรือฮีทสโตรก
- หลีกเลี่ยง การทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรืออยู่ในที่ที่มีอากาศร้อนจัด โรคลมแดดหรือฮีทสโตรก
- สวมใส่เสื้อผ้าที่มีสีอ่อน โปร่ง เนื้อบาง ไม่หนา น้ำหนักเบา ระบายความร้อนได้ดี ไม่รัดแน่นจนเกินไป และป้องกันแสงแดดได้ ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายมีอุณหภูมิที่เย็นอย่างเหมาะสม
- จิบน้ำบ่อย ๆ อย่างน้อย 6-8 แก้วต่อวัน ถึงแม้ไม่กระหายน้ำก็ตาม เพื่อเติมความชุ่มชื้น และลดอุณหภูมิร่างกาย เพื่อให้ร่างกายได้รับน้ำอย่างเพียงพอ ซึ่งส่งผลให้ร่างกายสามารถ ทำตัวให้เย็นลงได้ตามธรรมชาติผ่านทางเหงื่อ วิธีป้องกันโรคลมแดด
- หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ชา รวมถึงกาแฟ และเครื่องดื่มน้ำตาลสูง เนื่องจากเพิ่มการขับน้ำทางปัสสาวะ อาจทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำ และเกลือแร่มากขึ้น
- อย่าทิ้งเด็ก ผู้สูงอายุ หรือสัตว์เลี้ยงไว้ในรถ ที่จอดอยู่กลางแจ้ง ความร้อนภายในรถจะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคสูงมาก
- เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัว ไม่ควรอยู่ในที่อากาศร้อนและไม่ควรอยู่ตามลำพัง อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด
- สำหรับผู้ที่ออกกำลังกาย แนะนำออกกำลังกายในที่ที่อากาศถ่ายเท ควรเลือกในช่วงเช้าหรือช่วงเย็น เนื่องจากเป็นช่วงที่อากาศไม่ร้อนมาก และควรมีการอบอุ่นร่างกายก่อนทุกครั้ง อย่าใช้กำลังกายมากเกินไป ในช่วงเวลาที่ร้อนที่สุดของวัน ให้ทำงานที่ใช้กำลังมากที่สุด ในตอนเช้า หรือตอนเย็นเมื่ออุณหภูมิเย็นลง
- หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่มีแดดจัด สวมแว่นกันแดด สวมหมวกปีกกว้าง รวมถึงการนั่งในรถยนต์ที่จอดไว้ ถึงแม้จะเปิดกระจกทิ้งไว้ หรือ จอดรถยนต์ไว้ในที่ร่มก็ตาม เพราะอุณหภูมิในรถยนต์ สามารถร้อนจัดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว
- ผู้ที่มีโรคประจำตัวหากมีอาการผิดปกติ หรืออาการที่บ่งบอกตามข้างต้น ขอให้รีบพบแพทย์โดยทันที อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด
เมื่อเกิดอาการควรได้รับการรักษาในทันที เพราะโรคอาจส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อหัวใจ สมอง ไต และกล้ามเนื้อ หากได้รับการรักษาล่าช้า อาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง และอาจเป็นอันตรายแก่ชีวิตได้ อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด
อ่านบทความอื่นๆ »» วันอนามัยโลก
บทความแนะนำ » » ดูบอล