อัพเดตเรื่องสุขภาพและความงาม แฟชั่น ได้ที่นี่

วันคุ้มครองผู้บริโภค พระราชบัญญัติคุ้มครอง สิทธิผู้บริโภคไทย

วันคุ้มครองผู้บริโภค

วันคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อปกป้อง สิทธิผู้บริโภคไทย จากพฤติกรรมการฉ้อโกงของผู้ประกอบการธุรกิจ และการโฆษณา

วันคุ้มครองผู้บริโภค เราเคยได้ยินเรื่องของคดีฟ้องร้องที่เกี่ยวกับ สินค้าหรือผลิตภัณฑ์อะไรมาบ้างไหมคะ หลายคนอาจมีประสบการณ์ในการซื้อสินค้า แล้วได้สินค้าที่ไม่มีคุณภาพ ตามที่โฆษณาไว้ พอเกิดปัญหาแล้ว ทางร้านค้าบ่ายเบี่ยงไม่ให้เปลี่ยนสิค้าและ ไม่รับผิดชอบ ซึ่งความจริงแล้ว ผู้ซื้ออยากได้สินค้ามีคุณภาพที่ดี ใช้งานได้ทนทานมากกว่า การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

นั่นทำให้เกิดปัญหาระหว่างผู้ซื้อ และผู้ขาย ซึ่งอาจจะไม่ใช่ผู้ผลิตสินค้าโดยตรง ปัญหาต่าง ๆ ที่ผู้บริโภคสินค้าพบเจอ ไม่ได้รับความเป็นธรรมมีอยู่มากมาย และที่สำคัญคือ…ปัญหาที่พบว่า สินค้าที่ซื้อไปใช้อุปโภคบริโภค เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ใช้แล้วอาจก่อให้เกิดโรคเจ็บป่วย เกิดอุบัติเหตุร้ายแรง บาดเจ็บ เสียชีวิตได้

สิทธิผู้บริโภคไทย สำหรับการฟ้องร้องเอาผิดต่อผู้จำหน่าย หรือผู้ผลิตสินค้าจึงเป็นเพียง การแก้ปัญหาปลายเหตุ มิใช่การป้องกันมิให้เกิดปัญหา สิ่งสำคัญที่สุด ก็คือการควบคุมดูแลการผลิตสินค้า และการให้บริการต่าง ๆ ให้จัดทำอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐาน ตลอดจนการควบคุมดูแล เรื่องของการโฆษณา ประชาสัมพันธ์สินค้าให้เป็นความจริง ตามคุณภาพสินค้า ไม่ให้โกหกหลอกลวง

เปิดเผยข้อมูลข่าวสารสินค้าต่าง ๆ ให้รับรู้โดยทั่วกัน พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค ตรงกับปี พ.ศ. ใด ซึ่งถือว่าเป็น การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ ในวันที่ 30 เมษายนของทุกปีจึงถือให้เป็น วันคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิผู้บริโภคไทย ที่เราเป็นผู้ซื้อได้รับการคุ้มครองจาก สคบ นั่นเองค่ะ

วันคุ้มครองผู้บริโภค สคบ คืออะไรหน้าที่ของสคบมีอะไรบ้าง

สคบ. คือสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เป็นหน่วยงานของราชการในระดับกรม ภายใต้สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี ได้มีการจัดตั้งขึ้นมาตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2522

เป็นหน่วยงานที่ดูแลสิทธิของผู้บริโภค จากการกระทำของผู้ประกอบธุรกิจ ในเรื่องที่เกี่ยวกับการบริโภคสินค้า และบริการ ในส่วนที่ยังไม่มีกฎหมายอื่นดูแล โดยจะแบ่งออกเป็น 4ส่วนได้แก่ ด้านโฆษณา, ฉลาก, สัญญา, ธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรง การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน โดยจะเริ่มจากการรับเรื่องร้องทุกข์ ต่อด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย และดำเนินการฟ้องร้องคดีแพ่งแทนผู้บริโภค

เวลานี้สำนักงานของ ส.ค.บ. ตั้งอยู่ที่ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารบี ชั้น 5 ถ.แจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กทม. สิทธิผู้บริโภคไทย การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

วันคุ้มครองผู้บริโภค

หน้าที่หลักของ ส.ค.บ. คืออะไรกันบ้าง

1.สอดส่องดูแลพร้อมรับเรื่องราวร้องทุกข์ของผู้บริโภคทุกประเภทที่ได้รับความเดือดร้อนไม่ว่าจะเป็นสินค้าหรือบริการแบบไหนก็ตาม

2.คอยดูแลสอดส่อง ตรวจสอบกลุ่มผู้ประกอบการใหม่ กลุ่มผู้ทำการทดสอบสินค้าชนิดใหม่ว่ามีข้อสงสัยใดๆ ที่อาจกระทำแล้วไม่ปลอดภัยต่อกลุ่มผู้บริโภคบ้างหรือไม่

3.ทำการศึกษาวิจัยสำหรับการหาแนวทางดำเนินการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับตัวผู้บริโภค ซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ นอกจากนี้ยังมีการคิดค้นการปรับเปลี่ยนวิธีการต่างๆ เพื่อประโยชน์ทีเกิดขึ้นกับผู้บริโภคให้มากที่สุด การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

4.ผลักดันการให้ความรู้ด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านของมูล สิทธิที่กลุ่มผู้บริโภคสมควรได้รับเพี่อที่ตัวของผู้บริโภคเองจะได้เข้าใจถึงปัญหา สามารถป้องกันและหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าวไม่ให้เกิดขึ้นกับตนเองและคนใกล้ชิดได้

5.ทำการประชาสัมพันธ์พร้อมทั้งเผยแพร่ความรู้ที่สร้างประโยชน์ให้กับกลุ่มผู้บริโภค มีการแจ้งรายชื่อสินค้าที่ตรวจสอบแล้วพบว่าไม่ปลอดภัย พบสารปนเปื้อนอันจะนำไปสู่ผู้บริโภคได้รับทราบ ผ่านช่องทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ

6.หากมีการร้องทุกข์จากผู้บริโภค ส.ค.บ. จะทำการประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องเพื่อที่จะได้แก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงทีและถูกจุดมากที่สุด การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

ต้องยอมรับว่าส.ค.บ.หรือสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคคือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือกับผู้บริโภคทุกคน ผู้ซึ่งรู้สึกว่าตนเองกำลังถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้รับความไม่เป็นธรรม มีสิ่งไม่ชอบมาพากล ได้รับผลกระทบจากการบริโภคสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสินค้าหรือบริการ การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

ดังนั้นหน่วยงานอย่าง ส.ค.บ.จะต้องทำการเข้าไปช่วยเหลือ พร้อมทั้งสร้างความเข้าใจต่าง ๆ ให้กับผู้บริโภคเพื่อจะได้ไม่หลงเชื่อ ไปกับกลุ่มธุรกิจไม่หวังดีและต้องการหลอกลวงผู้บริโภคนั่นเอง  เป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญต่อประชาชนอย่างเราๆ มากทีเดียวสำหรับ ส.ค.บ.หน่วยงานนี้ สิทธิผู้บริโภคไทย สิทธิผู้บริโภค สรุป

วันคุ้มครองผู้บริโภค พรบ.คุ้มครองให้สิทธิ์ผู้บริโภค 5 ข้อ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรก ที่ให้ความสำคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค โดยบัญญัติถึงสิทธิของผู้บริโภคไว้ในมาตรา 57 ว่า วันคุ้มครองผู้บริโภค “สิทธิของบุคคลซึ่งเป็นผู้บริโภค ย่อมได้รับความคุ้มครองทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ” สิทธิผู้บริโภคไทย การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน สิทธิผู้บริโภค 5 ประการ

วันคุ้มครองผู้บริโภค

พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ได้บัญญัติสิทธิของ วันคุ้มครองผู้บริโภค ผู้บริโภคที่จะได้รับความคุ้มครอง ประธานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กำหนดให้ สิทธิผู้บริโภคไทย การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน ตามกฎหมาย 5 ประการ ดังนี้

1. สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่ จะได้รับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเป็นจริงและปราศจากพิษภัยแก่ผู้บริโภค รวมตลอดถึงสิทธิที่จะได้รับทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการอย่างถูกต้องและเพียงพอที่จะไม่หลงผิด ในการซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยไม่เป็นธรรม

2. สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่จะเลือกซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยความ สมัครใจของผู้บริโภค และปราศจากการชักจูงใจอันไม่เป็นธรรม การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

3. สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพได้มาตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกายหรือทรัพย์สิน ในกรณีใช้ตามคำแนะนำ หรือระมัดระวังตามสภาพของสินค้าหรือบริการนั้นแล้ว

4. สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

5. สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ได้แก่ สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภคตามข้อ 1, 2, 3 และ 4 ดังกล่าว วันคุ้มครองผู้บริโภค

หลักการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ อ่านฉลากก่อนซื้อ

การเลือกซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สามารถทำได้ง่าย ๆ เริ่มจากการเลือกซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากครบถ้วน และสังเกตุข้อมูลสำคัญบนฉลาก โดยหากเป็นอาหารให้ สังเกตเครื่องหมาย อย.และเลข 13 หลัก หากเป็นเครื่องสำอางให้สังเกตเลขที่ใบรับแจ้ง 10 หรือ 13หลัก หากเป็นยาให้สังเกตเลขทะเบียนยา การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

วันคุ้มครองผู้บริโภค

หากเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้สังเกตเลขทะเบียน ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเป็นสำคัญ และเพื่อความมั่นใจว่า ได้รับผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องปลอดภัย ควรตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพก่อนเลือกซื้อ เลือกใช้ได้ทางเว็บไซต์ อย. หรือ LINE official account ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขทุกจังหวัด สิทธิผู้บริโภคไทย นอกจากนี้ยังมีสิทธิแบบสากลอีกด้วย

มารู้จักสิทธิผู้บริโภคสากลกันบ้าง

จะต่างจากไทยคือในวันที่ 15 มีนาคม ปี 1983 มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม และมีการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิคุ้มครองผู้บริโภค วันคุ้มครองผู้บริโภคสากล ให้ทุกคนได้ตระหนักถึงสิทธิของตัวเอง จนนำมาสู่การมีสิทธิผู้บริโภคที่สำคัญ 8 ประการ ซึ่งสามารถผลักดันให้สหประชาชาติกำหนดแนวทางในการคุ้มครองผู้บริโภคได้ในปี 1985

ต่อมาเรื่อยๆ การรณรงค์เรื่องสิทธิของผู้บริโภคยังคงดำเนินต่อไปอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้เกิดการปรับปรุงแนวทางการคุ้มครองผู้บริโภคจากสหประชาชาติในปี 2015 ซึ่งการปรับปรุงแนวทางในครั้งนี้ได้ถูกนำมาใช้เป็นพื้นฐานในการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก จนกลายมาสิทธิผู้บริโภคสากลขั้นพื้นฐาน ดังนี้

1.สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าและบริการ ไม่ว่าจะเป็นจากส่วนประกอบ กรรมวิธีผลิต การบรรจุหีบห่อ รวมไปถึงการให้บริการต้องได้มาตรฐานด้วย

2.สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อประกอบการเลือกและตัดสินใจ รวมถึงยังมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองจากโฆษณาหลอกลวง หรือก่อให้เกิดความเข้าใจผิดด้วย

3.สิทธิที่จะได้เลือกซื้อสินค้าและบริการ ในราคายุติธรรม หรือในราคาที่เกิดจากการแข่งขันอย่างเสรี และในกรณีที่มีการผูกขาดสินค้า จะวางใจได้ว่าจะได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพเป็นที่พอใจและในราคายุติธรรม

4.สิทธิที่จะได้แสดงความคิดเห็นในฐานะตัวแทนผู้บริโภค เพื่อให้ได้รับประโยชน์ที่ควรได้ รวมทั้งกำหนดหลักเกณฑ์ร่วมกับรัฐบาลในการบริการจัดการ

5.สิทธิที่จะได้รับสินค้าและบริการขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ได้แก่ อาหารที่ปลอดภัย ที่อยู่อาศัย การเข้าถึงการศึกษา และสาธารณสุข

6.สิทธิที่จะได้รับการชดเชย เยียวยา เมื่อถูกละเมิดสิทธิ์ คือ ได้รับความเป็นธรรมในการตัดสินเรื่องราวที่ร้องเรียนอย่างถูกต้อง ซึ่งรวมถึงสิทธิที่จะได้รับการชดใช้เมื่อได้รับสินค้าและบริการที่บกพร่อง เสียหาย การช่วยเหลือ หรือการชดใช้อื่น ๆ

7.สิทธิที่จะได้รับความรู้เพื่อการบริโภคอย่างเท่าทัน เพื่อนำไปใช้ในการต่อสู้สิ่งต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจ

8.สิทธิที่จะได้ดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีและปลอดภัย รวมถึงสิทธิที่จะได้รับการป้องกันจากสิ่งแวดล้อมที่ผู้บริโภคแต่ละคนไม่สามารถควบคุมได้เอง ตลอดชั่วอายุคนไปจนถึงรุ่นลูกหลานด้วย

ข้อแตกต่าง สิทธิผู้บริโภคสากล-ไทย

จากความแตกต่าง ในการรับรองสิทธิผู้บริโภคของไทยและสากล สิทธิผู้บริโภคสากล จะเห็นได้ว่ากฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ของประเทศไทยยังขาดในเรื่องการแสดงความคิดเห็น ได้ในฐานะตัวแทนผู้บริโภค สิทธิที่จะได้รับสินค้าและบริการขั้นพื้นฐาน ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต วันคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองใส่ใจผู้บริโภคภาคประชาชน

สิทธิที่จะได้รับความรู้ที่จะเป็นต่อการบริโภคอย่างรู้เท่าทัน และสิทธิที่จะดำรงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี และยังชีพได้อย่างปลอดภัย แต่มีสิ่งที่สิทธิผู้บริโภคไทย สิทธิผู้บริโภคไทย  ได้ขยายเพิ่มเติมเข้ามา คือ เรื่องการได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา

 

อ่านต่อ>>>อากาศร้อนจัดร่างกายมีอุณหภูมิสูงทำให้เสี่ยงโรคลมแดด

โหลดเกมส์